One minute
Infrastructure Resilience Planning Framework
วันนี้เพิ่งได้รู้จัก Infrastructure Resilience Planning Framework (IRPF) เป็นเฟรมเวิร์กที่พัฒนาขึ้นโดย CISA เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาเรื่อง critical infrastructure resilience เข้าไปในกระบวนการวางแผน
The Infrastructure Resilience Planning Framework (IRPF) provides a process and series of resources for incorporating critical infrastructure resilience considerations into planning activities
กลุ่มเป้าหมายของเฟรมเวิร์กนี้คือหน่วยงานระดับประเทศ รัฐ หรือภูมิภาค
The primary audience for the IRPF is state, local, tribal, and territorial governments and associated regional organizations
โดยความเห็นส่วนตัว ถ้าเทียบกับประเทศไทย ก็น่าจะเป็นระดับ สภาพัฒน์, กระทรวงต่างๆ, หรือองค์การบริหารส่วนจังหวัด อะไรทำนองนี้
ตัวเฟรมเวิร์กแบ่งออกเป็นขั้นตอนใหญ่ๆ 5 ส่วน ดังนี้
- Lay the Foundation – แนวทางการจัดตั้ง planning group ที่ประกอบด้วย stakeholders จาก infrastructure และรีวิวข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
- Identify Critical Infrastructure – แนวทางการระบุ critical infrastructure และการขึ้นต่อกันของระบบต่างๆ
- Assess Risk – แนวทางการทำ risk assessment ของ critical infrastructure รวมถึงการจัดระดับความสำคัญของ mitigation measures
- Develop Actions – แนวทางการจัดทำ mitigation strategies เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้าง resilience ให้กับ critical infrastructure
- Implement & Evaluate – แนวทางการ implement solution ตามที่วางแผนไว้ แนวทางการหาแหล่งเงินทุนและความช่วยเหลือด้านเทคนิค
ล่าสุด CISA ได้ออก IRPF Playbook มาเพิ่มเติม เพื่อเป็น how-to guide โดยมีตัวอย่างการเล่าเรื่องแบบ scenario ประกอบ เพื่อให้เห็นกระบวนการในแต่ละ step และ output ที่จะได้ในแต่ละ step ได้ชัดเจนขึ้น
เอาจริงๆ ก็เป็นเฟรมเวิร์กที่อยู่นอก scope การทำงานของผมไปเยอะ แต่ก็คิดว่าเป็นหัวข้อน่าสนใจที่ควรรู้เอาไว้ 🤓
cisa irpf critical infrastructure
149 Words
2024-07-22 12:30 (Last updated: 2024-07-22 14:03)
f15423d @ 2024-07-22